วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนวัน ศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.2558



บันทึกการเรียนวัน ศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.2558


 บันทึกอนุทินครั้งที่ 11



เพื่อนเก็บตกการนำเสนอหน้าชั้น
โทรทัศน์ครู นางสาวสุจิตตรา มาวงษ์ เลขที่ 25
รายการ ทอค  อะเบาว์ คิดส์การสอนเด็กเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ จะให้เด็กเรียนคณิตศาสตร์ให้สนุกต้องผ่านการเล่น สามารถเริ่มได้ตั้งเเต่ 1 ขวบ  เริ่มต้นจากเรื่อง สี ตัวเลข รูปทรง ขนาด เพื่อเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ พราะเด็กจะใช้การจำจด เวลาสอนจะต้องให้เด็กมีส่วนร่วมเสมอ  กิจกรรมตัวอย่างเช่น ตุ๊กตาแกะ ที่เป็นสีๆ สามารถถอดออกและต่อเข้าได้ สีไหนอยู่อันดับแรก พอดูเรื่องขนาดก็พี่แกะของเราอ้วนมั้ย วงกลมชิ้นไหนเล็ก ชิ้นไหนใหญ่


งานวิจัย นางสาว เปมิกา ชุติมาสวรรค์ เลขที่ 4
       การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญ เพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสเซอรี่โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสเซอรี่และเปรียบเทียบทักษะพื้น
ฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสเซอรี่  
     กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยอายุ ระหว่าง 4-5 ปี  ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2/1
 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนพระแม่มารี กรุงเทพมหานคร จำนวน 12 คน ซึ่งได้มาจากเลือก
แบบเจาะจง จากห้องเรียนที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสรี่
  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย    1. แผนการจัดประสบการณ์ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ตามแนวมอนเตส
เซอรี่    2. แบบประเมินทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
สรุปผลการวิจัยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนว
มอนเตสเซอรี่อยู่ในระดับดี ทั้งโดยรวมและด้านต่างๆ ประกอบด้วยด้านการจำแนก การเรียงลำดับ 
และการนับ





งานวิจัย นางสาว รัชดา เทพเรียน เลขที่ 5

ชื่อวิจัย การเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์
โดยในเกมการศึกษาและเพลง กับการจัดประสบการณ์ตามคู่มือ

ชื่อผู้วิจัย นาง สุธีรา ท้าวเวชสุวรณ

 มหาวิทยาลัย ศิลปากร   พ.ศ.2548

จากผลการวิจัยพบว่า ความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการ

กลุ่มแรก        ประสบการณ์โดยการใช้เกมการศึกษาเเละเพลง 30 คนกลุ่มที่สอง    จัดประสบการณ์ตามคู่มือครู 30 คนผลสรุป   เด็กพอใจในการจัดประสบการณ์โดยการใช้เกมการศึกษาเเละเพลงด้านบรรยากาศ 100%ด้านประโชยน์ที่ได้รับ 95.05%เด็กพอใจในการจัดประสบการณ์ตามคู่มือครูด้านบรรยากาศ  96.67%ด้านการจัดประสบการณ์ 91.67%ด้านประโชยน์ที่ได้รับ  92.78%

ศึกษาและเพลง กับการจัดประสบการณ์ตามคู่มือ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลกนักเรียนชั้นอนุบาล
 2 โรงเรียนกาญ
จนบุรี ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัย ที่ระดับ0.01 โดยเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเด็กที่ควบคุมที่จัดประสบการณ์ตามคู่มือครูทั้งนี้อาจเพราะเด็ก ชอบเล่นเกม ชอบร้องเพลงอยู่เเล้ว เป็นเรื่องใกล้ตัว เช่นการเล่นเกมจับคู่ ร้องเพลงที่สนุก ทำให้เ็กมีความสุข การเรียนปนเล่น ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างไม่รู้ตัวและการจัดประสบการณ์ตามคู่มือครูอาจเคร่งเครียดจนเกินไป มีเเบบแผน มีกรอบทำให้เด็กอาจไม่มีความสุขในการเรียนรู้คณิตศาสตร์




งานวิจัย นางสาว กมลรัตน์ มาลัย เลขที่ 6สรุปงานวิจัย       

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
 ที่มา
 :ปริญญานิพนธ์ ของ พิจิตรา เกษประดิษฐ์  ปี พ.ศ: 2552       ทำการวิจัยกับเด็กอนุบาลชาย-หญิง ที่

มีอายุระหว่าง 3-4 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่1ภาคเรียน ที่2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียน

อนุบาลกุ๊กไก่ สังกัดการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร       ซึ่งกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบเป็น

กิจกรรมที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสในการทำกิจกรรมตกแต่งบนขนมอบ คือ ขนมปัง คุกกี้ พาย เค้ก ซึ่ง

ขนมอบทั้ง4ชนิดนี้ มีรูปร่าง รูปทรง เด็กจะได้มีโอกาสเลือกและลงมือปฏิบัติ โดยการทา การโรย การ

เขียน ตามความคิดและจินตนาการและเด็กยังได้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น ดังนี้      

 1. ด้านการสังเกตและการจำแนก   ในการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ ได้เปิดโอกาสให้เด็ก

ได้เรียนรู้การสังเกตและการจำแนกและได้ลงมือปฏิบัติกับอุปกรณ์และวัตถุดิบจริง โดยครูได้สอดแทรก

ทักษะการสังเกตและการจำแนกในกิจกรรม เช่น คุกกี้แฟนซี โดยการให้เด็กสังเกตผลไม้ที่ทำกิจกรรม

และให้สังเกตวัตถุดิบที่นำมาเหมือนหรือต่างกันอย่างไร    2.ด้านการเปรียบเทียบ  การจัดกิจกรรมศิลป

สร้างสรรค์ด้วยขนมอบ ได้เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะการเปรียบเทียบ จากวัตถุดิบที่ครูนำมาทำ

กิจกรรม เช่น กิจกรรมขาไก่สร้างสรรค์ เด็กได้สังเกตขนมขาไก่ที่มีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งในด้านขนาด

และรูปทรงที่แตกต่าง     3.ด้านการจัดหมวดหมู่  ได้เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะการจัดหมวดหมู่

จากวัตถุดิบที่ครูนำมาทำกิจกรรม เช่น ในการจัดกิจกรรม พวงมาลัยหัวจุก เด็กได้เรียนรู้เรื่องการจัดหมวด

หมู่จากกิจกรรมนี้ โดยการจัดหมวดหมู่ตามสีและรูปทรงของขนม

อาจารย์มีภาพกิจกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง

มีสัตว์ให้ดูภาพท้งหมด 6 ตัว สอนในเรื่องการยะประภท จำนวนขา จำนวนตัวสัตว์ 
หรือเวลานับจะนำมารวมันเเละนับขาทั้งหมด








อย่างเช่น   ม้าลาย 2 ตัว มี 8 ขา

                นก 2 ตัว มี 4 ขา

                กบ 1 ตัว มี 4 ขา

                เป็ด 2 ตัว มี 4 ขา เมื่อนับรวมันจะได้ สัตวทั้งหมด 7ตัว
                                          เมื่อนับรวมจำนวนขา มี 20 ขา เป็นต้น


ให้แบ่งกลุ่มเขียนแผน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ มีเรื่อง กล้วย แตงโม ไก่ สุนัข


การออกแบบกิจกรรม ต้องประกอบไปด้วย

1.ศึกษาสาระสาระที่ควรเรียนรู้


2.วิเคาระห์เนื้อหา


3.ศึกษาประสบการณ์สำคัญ


4.บูรณาการสาระคณิตศาสตร์


5.ออกแบบกิจกรรม

เขียนออกมาเป็นมายเเมบ ตามหัวข้อ ในเรื่อง ชนิด ลักษณะ การดูแลรักษา ประโยขน์ ข้อควรระวัง


แตกย่อยๆๆออกไปตามหัวข้อ โดยกลุ่มดิฉันได้เรื่องสุนัข

จากนั้นให้แต่ละกลุ่มนำแผ่นที่เขียนเป็นมาเเมบไปแปะไว้ที่หน้าห้อง 
เเล้วนำมาเขียนเเผนการสอน


















**ทักษะ**

 มีส่วนร่วมในการพรีเซ้นต์งานร่วมกับกลุ่ม



**ประเมินเพื่อน**


กระบวนการการทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักใช้คำพูดในการนำเสนองาน 

การพูดคำเเต่ละให้ชัดถ้อยชัดคำ 

รู้จักการตั้งคำถามในหัวข้อที่ควรจะเน้นเป็นสำคัญ เเละไหวพริบในการตอบคำถาม

คิดวางแผนการทำงานเป็นขั้นตอนเรียงลำดับ


**วิธีการสอน**

สอนโดยการใช้สื่อภาพประกอบรูปสัตว์ต่างๆเพื่อเป็นตัวอย่างในการคิดการสอนโดยใช้เเผน

เพื่อให้รู้ว่าคณิตศาสตร์สามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งรอบตัวในแต่ละวัน

 สอนโดยการให้ผู้เรียนเป็นสืบค้นหาความรู้ด้วยตนเอง 

เมื่อสิ่งไหนที่ไม่เข้าประเด็นอาจารย์ก็จะเสริมต่อเเนะนำให้เพื่อให้ได้วามรู้ที่ถูกต้อง



**ประเมินห้องเรียน**

สภาพห้องเรียนสะอาด ไม่มีขยะ อากาศอยู่ในอุณหภูมิที่พอดี

 มีจำนวนเก้าอี้ที่เพียงพอต่อนักศึกษา



**ประเมินตนเอง**

ตั้งใจฟังเเละให้ความร่วมมือกับสิ่งที่ครูสอนเเละการทำกิจกรรม

เพื่อนตั้งใจฟังเพื่อนเเต่ละกลุ่มที่ออกไปนำเสนองาน

 ช่วยกันถามในข้อที่ไม่เข้าใจ ช่วยกันขยายความรู้ออกจากสิ่งเดิมที่แต่ละลุ่มนำเสนอ



**ประเมินอาจารย์**


อาจารย์เข้าสอนตรงตามเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม 

 เเนะนำเรื่องการนำเสนอเเละวิธีการนำไปปรับปรุงใหม่ในครั้งหน้าอย่างสมบูรณ์



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น